วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

                                   le tour de France

Bicycle-icon.png ตูร์เดอฟรองซ์ (ฝรั่งเศสTour de France หมายถึง การท่องฝรั่งเศส) หรือบางครั้งเรียกว่า ลากรองด์บูกล์ (La Grande Boucle) และ เลอตูร์ (Le Tour) เป็นการแข่งขันจักรยานทางไกลรอบประเทศฝรั่งเศส ซึ่งจัดขึ้นเป็นเวลา 3 สัปดาห์ในช่วงเดือนกรกฎาคมของทุกปี เริ่มจัดขึ้นตั้งแต่ ค.ศ. 1903 จนถึงปัจจุบัน (เว้นการจัดแข่งขันในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสอง)
ตูร์เดอฟรองซ์ เป็นการแข่งขันจักรยานที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในโลก เป็นการแข่งขันจักรยานทางไกลหนึ่งในสามรายการใหญ่ ที่จัดการแข่งขันในยุโรป รวมเรียกว่า แกรนด์ทัวร์ โดยอีกสองรายการคือ
การแข่งขันครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1903 เกิดขึ้นเนื่องจากการท้าทายกันทางหน้าหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศสชื่อ โลโต้ (L'Auto) มีนักแข่งเข้าร่วมจำนวนถึง 60 คน แต่สามารถเข้าเส้นชัยได้เพียง 21 คน ซึ่งกิตติศัพท์ของความยากลำบากในการแข่งขัน ทำให้การแข่งขันนี้เป็นที่สนใจ และมีผู้ชมการแข่งขันช่วงสุดท้ายในกรุงปารีส ตามสองฟากถนนระหว่างทางราว 100,000 คน และกลายเป็นประเพณี ที่การแข่งขันทุกครั้งจะไปสิ้นสุดที่ประตูชัย จตุรัสเดอเลตวล ปารีส
ในปี ค.ศ. 1910 เริ่มมีการจัดเส้นทางแข่งขันเข้าไปในเขตเทือกเขาแอลป์ ปัจจุบันเส้นทางการแข่งขันจะผ่านทั้งเทือกเขาแอลป์ ทางตะวันออก และเทือกเขาพีเรนีสทางใต้ของฝรั่งเศส
การแข่งขันตูร์เดอฟรองซ์จะแบ่งเป็นช่วง (stage) เพื่อเก็บคะแนนสะสม ผู้ชนะในแต่ละช่วงจะได้รับเสื้อ (jersey) เพื่อสวมใส่ในวันต่อไป โดยมีสีเฉพาะสำหรับผู้ชนะในแต่ละประเภท คือ
Jersey yellow.svg
สีเหลือง (maillot jaune - yellow jersey) สำหรับผู้ที่ทำเวลารวมได้น้อยที่สุด
Jersey green.svg
สีเขียว (maillot vert - green jersey) สำหรับผู้ที่มีคะแนนรวมสูงที่สุด (the leader of the points classification)
Jersey polkadot.svg
สีขาวลายจุดสีแดง (maillot à pois rouges - polka dot jersey) สำหรับผู้ชนะในเขตภูเขา ซึ่งมีชื่อเรียกเฉพาะว่า จ้าวภูเขา King of the Mountains
Jersey white.svg
สีขาว (maillot blanc - white jersey) สำหรับผู้ที่ทำเวลารวมได้น้อยที่สุดสำหรับผู้ที่อายุต่ำกว่า 26 ปี
Jersey worldtour.svg
สีรุ้ง (maillot arc-en-ciel - rainbow jersey) สำหรับผู้ชนะการแข่งขันจักรยานชิงแชมป์โลก (World Cycling Championship) ซึ่งมีกฏว่าจะต้องใส่เสื้อนี้เมื่อแข่งขันในประเภทเดียวกับที่ผู้แข่งนั้นเป็นแชมป์โลกอยู่
Jersey combined.svg
เสื้อแบบพิเศษ สำหรับผู้มีคะแนนรวมสูงสุด และชนะการแข่งขันช่วงย่อย และจ้าวภูเขา

ผู้ชนะเลิศตั้งแต่ปี ค.ศ. 1991

การแข่งขันครั้งที่ปี ค.ศ.ผู้ชนะเลิศ
78-821991-1995ธงชาติของสเปน มีเกล อินดูเรน (5 ปีติดต่อกัน)
831996ธงชาติของเดนมาร์ก บียานร์น รีส์*
841997ธงชาติของเยอรมนี แยน อุลริช
851998ธงชาติของอิตาลี มาร์โก แพนตานี
86-921999-2005Flag of the United States แลนซ์ อาร์มสตรอง (7 ปีติดต่อกัน)
932006ธงชาติของสเปน โอสการ์ เปเรย์โร (Flag of the United States ฟลอยด์ แลนดิส ถูกตัดสิทธิ์เนื่องจากใช้สารกระตุ้น[1])
942007ธงชาติของสเปน อัลเบอร์โต คอนทาดอร์
952008ธงชาติของสเปน คาร์ลอส ซาสเตร


                                                                 4 saisons  en français


               
   ฝรั่งเศสเป็นประเทศหนาว   ในปีหนึ่งแบ่งออกเป็น  4  ฤดู   แต่ละฤดูจะกินเวลา  3  เดือน   วันเดือนที่กำหนดว่าเป็นวันเริ่มต้นและวันสิ้นสุดของแต่ละฤดูนั้น   จริง ๆ แล้วไม่ได้หมายความว่าอากาศจะต้องเปลี่ยนแปลงอย่างนั้นจริง ๆ   วันเริ่มต้นฤดูใบไม้ผลิบางปีในบางท้องถิ่นอากาศจะหนาวมากกว่าฤดูหนาวในบางถิ่น   ฤดูทั้ง  4  ของฝรั่งเศสมีดังนี้คือ
            1.  ฤดูใบไม้ผลิ   ( le  printemps )    ฤดูใบไม้ผลิเริ่มวันที่  21   มีนาคม   สิ้นสุดวันที่  21   มิถุนายน   ในฤดูนี้อากาศจะอบอุ่นขึ้น   ต้นไม้ที่โกร๋นปราศจากใบมาตลอดเวลา  3   เดือน   ในฤดูหนาวที่หนาวเย็นจะเริ่มผลิใบ   การเปลี่ยนแปลงนี้รวดเร็วมาก   ในเวลาไม่กี่วันหลังอากาศอบอุ่นต้นไม้จะผลิใบเขียวชอุ่ม   ปลายเดือนมีนาคมและเดือนเมษายนอากาศจะไม่แน่นอน   ในช่วงนี้จึงยังคงเก็บเสื้อโค้ตไม่ได้เพราะอากาศจะหนาวเมื่อไรก็ได้   บางทีอาจจะมีฝนตกบ้าง   อากาศจะดีจริง ๆ  ในเดือนพฤษภาคม   ฤดูใบไม้ผลิเป็นฤดูที่สวยงาม   ฟ้าจะเป็นสีฟ้าใส   พระอาทิตย์ซึ่งไม่เคยปรากฏในฤดูหนาวเริ่มส่องแสง   ฤดูนี้ได้ชื่อว่าเป็นฤดูแห่งดอกไม้แห่งงานฉลองแห่งความรัก  ( la  saison  des  fleurs,  des  fêtes,  des  amours )   มีงานฉลองมากมาย   เช่น  พิธีรับศีลจุ่ม   พิธีแต่งงาน  ฯลฯ   สำหรับนักเรียนนักศึกษา   เดือนอากาศดีนี้หมายถึงการสอบปลายปีด้วย
            แม้ว่าฤดูใบไม้ผลิจะเป็นฤดูที่ทุกคนคิดว่าเป็นฤดูที่สวยงาม   อากาศดี   แต่ก็เป็นฤดูที่อากาศไม่แน่นอน   อากาศจะเปลี่ยนแปลงอย่างไม่คาดหมาย  imprévisible   ก็ได้   แต่ฤดูใบไม้ผลิก็นับว่าเป็นฤดูที่ดีที่สุดฤดูหนึ่งของปี
            2.  ฤดูร้อน  ( l’été )    เริ่มวันที่  22   มิถุนายน   สิ้นสุดวันที่  22   กันยายน   ฤดูร้อนเป็นฤดูที่กลางวันยาวมาก   เมื่อกลางวันยาว   กลางคืนก็สั้นประมาณ  6  7  ชั่วโมง   กลางวันยาวในที่นี้  หมายความว่า   พระอาทิตย์ตกดินช้า   สามทุ่มหรือสี่ทุ่มยังไม่มืด   เมื่อไม่มืดก็มีความรู้สึกว่ายังไม่ถึงกลางคืน   ในประเทศสแกนดิเนเวียนนั้นในฤดูร้อน   กว่าพระอาทิตย์ตกดินหรือจะมืดก็ประมาณห้าทุ่มหรือเที่ยงคืน   กลางคืนจะยาวประมาณ  6  7  ชั่วโมง    ฤดูร้อนในฝรั่งเศสอากาศร้อน   ผู้คนจึงไปชายทะเล   ฤดูร้อนเป็นฤดูแห่งวันหยุด   ผู้คนเฝ้ารอฤดูนี้เพื่อจะได้ไปเที่ยวทะเล   เพื่อจะได้อาบแดด   เพื่อจะได้รับประทานผลไม้สด ๆ  เช่น  สตรอเบอรี่   แต่ในฤดูร้อนผลไม้ยังไม่อร่อย   ต้องรอให้ผลไม้สุกเสียก่อน   ฤดูร้อนบางปีอากาศอาจจะไม่ดีฝนตกบ่อย ๆ  ฤดูร้อนที่อากาศไม่ดีเรียกว่า   été  pourri   ความหมายก็บอกว่าไม่เพลิดเพลิน   เป็น  ฤดูร้อนที่เน่าเสีย   คาดว่า   “été  canicule”   หมายถึงช่วงต้นฤดูร้อนที่อากาศร้อนมาก   บางเมืองอากาศจะร้อนมาก   อุณหภูมิที่สูงสุดในฤดูร้อนในฝรั่งเศสประมาณ  30  องศาเซลเซียส   ซึ่งร้อนมากสำหรับประเทศหนาว   ทำให้คนอยากไป   vacances   โดยเฉพาะคนที่อยู่ในเมืองใหญ่อย่างปารีส
            3.  ฤดูใบไม้ร่วง   ( l’automne )   ฤดูใบไม้ร่วงเริ่มต้นวันที่  23  กันยายน   สิ้นสุดวันที่  21   ธันวาคม   อากาศที่สดใส   แดดจ้าในฤดูร้อนเริ่มเปลี่ยน   ท้องฟ้าสีเทา  ลมแรง   ใบไม้เริ่มเปลี่ยนจากสีเขียวมาเป็นสีเหลือง   กลางวันสั้นมากขึ้น   กลางคืนยาวขึ้น   ใบไม้สีเหลือง   แห้งและร่วง   ฤดูใบไม้ร่วงก็เหมือนฤดูอื่น ๆ  คือ  อาจจะเป็นฤดูใบไม้ร่วงที่อากาศดี   หรือฤดูใบไม้ร่วงที่อากาศไม่ดี  คือ   ฝนอาจจะตกบ่อย   ตอนต้นฤดูอากาศมักจะดี   ตอนปลายฤดู  คือ   เดือนพฤศจิกายนอากาศจะไม่ดี   ท้องฟ้าเป็นสีเทาและมืดครึ้ม   ตอนที่ใบไม้ร่วง   ต้นไม้โกร๋นเป็นตอนที่เศร้า   แต่ฤดูใบไม้ร่วงเป็นฤดูที่สวยฤดูหนึ่ง   เพราะใบไม้ที่เปลี่ยนสีทำให้ฟ้าสวยงามหาที่เปรียบไม่ได้   ป่าไม้ในฤดูใบไม้ร่วง  ( ตอนต้นและตอนกลางฤดู )   จะใช้คำขยายว่า  coloré   ซึ่งหมายถึงระบายด้วยสีประดับด้วยสี  ( อันสวยงาม )   ศิลปินมักจะให้ฤดูใบไม้ร่วงเป็นฤดูที่สวยที่สุด   เนื่องจากสีใบไม้ที่เปลี่ยนสีแตกต่างกันมากมายหลายสี   ซึ่งธรรมชาติเท่านั้นจะทำได้
            ทางใต้ของฝรั่งเศสอากาศจะไม่หนาว   แต่มีลมแรง  ( mistral )  ทางใต้จึงปลูกต้นไม้ที่สู้ลมได้   เช่น  ต้นมะกอก  ( olivier )    ต้นโอ๊ค  ( chêne  vert )    และต้นไม้ที่มีรากยาว ๆ  เช่น   องุ่น
            ฤดูใบไม้ร่วงเป็นฤดูที่ดีที่สุดของคนบางกลุ่ม   คนฝรั่งเศสจำนวนหนึ่งที่ชอบล่าสัตว์จะถือปืนออกล่าสัตว์   ฤดูนี้เป็นช่วงที่คนในประเทศหนาวสามารถอยู่กลางแจ้งได้ก่อนที่ความหนาวจะคลืบคลานเข้ามาถึง
            4.  ฤดูหนาว   ( l’hiver )    เริ่มวันที่  22  ธันวาคม   สิ้นสุดวันที่  20  มีนาคม   ปลายฤดูใบไม้ร่วง   กลางวันสั้นมากขึ้น   ท้องฟ้ามืดครึ้ม   ฤดูหนาวในประเทศหนาวหรือประเทศฝรั่งเศสคือ ความหนาว   ฝนและหิมะ   แต่ฤดูหนาวก็เหมือนฤดูอื่น ๆ  คือ   เป็นฤดูที่คนบางกลุ่มเฝ้ารอ   นั่นคือผู้ที่ชอบกีฬาฤดูหนาวและผู้ทำธุรกิจเกี่ยวกับกีฬาฤดูหนาว   เมืองที่อยู่บริเวณภูเขาและเป็นสถานีสกี   ( Stations  de  ski )   จะคึกคักและมีชีวิตชีวา
            ฤดูหนาวเป็นฤดูแห่ง   “sports  d’hiver”   ครอบครัวหรือโรงเรียนจะพาลูก ๆ  และเด็ก ๆ  ไปเล่นสกีบนภูเขาในช่วง   vacances  de  neige   ผู้เดินทางในการขับรถที่อยู่ในเขตภูเขาที่มีหิมะตกจะต้องมี   pneus  à  clous   หรือ   roués  avec  chaine     ซึ่งเป็นยางรถที่ใช้บนถนนที่ลื่นด้วย  vergla  ( ฝนปนหิมะ )    gel  ( น้ำที่แข็งตัว )    และ   dégel  ( น้ำแข็งที่ละลายแล้ว )   นอกจากเจ้าของรถจะต้องเตรียมรถของตนให้พร้อมที่จะแล่นไปบนถนนที่อันตรายแล้ว   ทางราชการก็เตรียม  chasse – neiges  ( รถกวาดหิมะ )   เพื่อเปิดทางหากหิมะตกมาก ๆ  บนทางหลวงก็จะมีกระสอบทรายและกระสอบเกลือวางไว้ประจำ
            ฤดูหนาวเป็นฤดูแห่งงานฉลอง   จะเห็นว่ามีเทศกาลหลายเทศกาลในฤดูนี้   เช่น   Fête  de  Saint – Nicolas,  Noël,  Nouvel  An,  Fête  des  Rois,  Carnaval
นอกจากจะได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่มีอากาศปานกลาง   ( le  climat  doux   et   tempéré )   ของยุโรปแล้ว   อากาศในฝรั่งเศสยังแตกต่างกันตามลักษณะภูมิประเทศ   และลักษณะที่เด่นคือ  ความไม่แน่นอน   อากาศแต่ละฤดูไม่เหมือนกัน   และฤดูเดียวกันในแต่ละปีก็ไม่เหมือนกัน

วันเสาร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

Fête nationale française


La fête nationale française (le « 14 Juillet » ou « 14-Juillet ») est la fête nationale de la France. Elle a été instituée par la loi en 1880, en référence à une double date, celle du 14 juillet 1789, date de la prise de la Bastille, jour symbolique de la fin de l'absolutisme, de la société d'ordres et des privilèges, et celle du 14 juillet 1790, jour d'union nationale lors de la Fête de la Fédération1 2. C'est un jour férié en France 


 



Célébrations


Le 14 Juillet3 ou4 14-Juillet5 donne lieu à un défilé des troupes sur les Champs-Élysées de Paris, à des défilés ou des cérémonies militaires dans la plupart des communes et à des feux d'artifice. Ces feux d'artifice ont lieu dans les nuits du 13 au 14 ou du 14 au 15 juillet. Des bals sont également organisés le 14 juillet.


Instauration comme fête nationale[modifier]


Fête nationale du 14 juillet 1880, haut-relief en bronze deLéopold Morice, Monument à la République, place de la République, Paris, 1883

Bal populaire du 14 juillet 1912 (Paris)
En 1879, la IIIe République naissante cherche une date pour servir de support à une fête nationale et républicaine. Après que d'autres dates eurent été envisagées6, le député Benjamin Raspail dépose le 21 mai 1880 une proposition de loi tendant à adopter le 14 juillet comme jour de fête nationale annuelle. Si le 14 juillet 1789 (prise de la Bastille) est jugé par certains parlementaires comme une journée trop sanglante, la Fête de la Fédération du 14 juillet 1790, elle, permet d'atteindre un consensus1. Cette date « à double acception  »7 permet d'unir tous les républicains.
La loi, signée par 64 députés, est adoptée par l'Assemblée le 8 juin et par le Sénat le 29 juin. Elle est promulguée le 6 juillet 1880 et précise simplement que « La République adopte le 14 juillet comme jour de fête nationale annuelle »1, sans indiquer d'année de référence.
La lecture du rapport de séance du Sénat du 29 juin 18808 établissant cette fête nationale éclaire le débat sous-jacent portant sur laquelle de ces deux dates est commémorée le 14 juillet :
« M. le rapporteur (Henri Martin) : - Il y a eu ensuite, au 14 juillet 1789, il y a eu du sang versé, quelques actes déplorables ; mais, hélas ! dans tous les grands événements de l’histoire, les progrès ont été jusqu’ici achetés par bien des douleurs, par bien du sang. Espérons qu’il n’en sera plus ainsi dans l’avenir (« très bien » à gauche, interruptions à droite).
À droite : - Oui, espérons !
M. Hervé de Saisy : - Nous n’en sommes pas bien sûrs !
M. le rapporteur : - Nous avons le droit de l’espérer. Mais n’oubliez pas que, derrière ce 14 juillet, où la victoire de l’ère nouvelle sur l’ancien régime fut achetée par une lutte armée, n’oubliez pas qu’après la journée du 14 juillet 1789 il y a eu la journée du 14 juillet 1790 (« très-bien ! » à gauche).
Cette journée-là, vous ne lui reprocherez pas d’avoir versé une goutte de sang, d’avoir jeté la division à un degré quelconque dans le pays, Elle a été la consécration de l’unité de la France. Oui, elle a consacré ce que l’ancienne royauté avait préparé. L’ancienne royauté avait fait pour ainsi dire le corps de la France, et nous ne l’avons pas oublié ; la Révolution, ce jour-là, le 14 juillet 1790, a fait, je ne veux pas dire l’âme de la France – personne que Dieu n’a fait l’âme de la France – mais la Révolution a donné à la France conscience d’elle-même (« très-bien ! » sur les mêmes bancs) ; elle a révélé à elle-même l’âme de la France. »
Un peu plus loin, le rapport du Sénat, préalable à l'adoption de la proposition de loi, fait également référence au 14 juillet 1790 :
« Mais, à ceux de nos collègues que des souvenirs tragiques feraient hésiter, rappelons que le 14 juillet 1789, ce 14 juillet qui vit prendre la Bastille, fut suivi d’un autre 14 juillet, celui de 1790, qui consacra le premier par l’adhésion de la France entière, d’après l’initiative de Bordeaux et de la Bretagne. Cette seconde journée du 14 juillet, qui n’a coûté ni une goutte de sang ni une larme, cette journée de la Grande Fédération, nous espérons qu’aucun de vous ne refusera de se joindre à nous pour la renouveler et la perpétuer, comme le symbole de l’union fraternelle de toutes les parties de la France et de tous les citoyens français dans la liberté et l’égalité. Le 14 juillet 1790 est le plus beau jour de l’histoire de France, et peut-être de toute l’histoire. C’est en ce jour qu’a été enfin accomplie l’unité nationale, préparée par les efforts de tant de générations et de tant de grands hommes, auxquels la postérité garde un souvenir reconnaissant. Fédération, ce jour-là, a signifié unité volontaire. »

Les fêtes nationales et les autres fêtes organisées par les régimes avant 1880[modifier]


Fête Nationale du 30 juin 1878 par Claude Monet
Le 14 juillet 1790 a lieu la Fête de la fédération. C'est l'une des nombreuses fêtes révolutionnaires.
La « fête de la fondation de la République » est célébrée le 1er vendémiaire de chaque année, de 1793 jusqu'en 1803. On cesse alors de célébrer la Saint-Louis en l'honneur du roi.
Le décret du 19 février 1806 institue la Saint-Napoléon le 15 août alors que le 14 juillet, fête subversive, n'est plus commémoré de 1800 à 1848 autrement que dans des célébrations clandestines9.
En 1849 une fête nationale est célébrée le 4 mai, jour anniversaire de la proclamation ou ratification de la République par l'Assemblée nationale constituante10.
À partir de 1852, Napoléon III restaure la Saint-Napoléon.
Suite à la guerre franco-allemande de 1870, la fête devient nationaliste, privilégiant le défilé militaire9.
En 1878 une fête nationale a lieu le 30 juin, pendant l'Exposition universelle de 1878. Elle est immortalisée par plusieurs toiles de Claude Monet.



Auguste and Louis Lumière



The Lumière Brothers
Les frères Lumière
Fratelli Lumiere.jpg
Auguste Lumière (left) and Louis Lumière (right)
Place of birthBesançonFrance
AugusteAuguste Marie Louis Nicolas Lumière
October 19, 1862
April 10, 1954 (aged 91) (Lyon, France)
(58 years, 3 months and 4 days ago)
LouisLouis Jean Lumière
October 5, 1864
June 6, 1948 (aged 83) (Bandol, French Riviera)
(64 years, 1 month and 8 days ago)
OccupationFilmmakers
EducationLa Martiniere Lyon
ParentsClaude-Antoine Lumière (1840–1895)
AwardsElliott Cresson Medal (1909)


History

The Lumière brothers were born in BesançonFrance, in 1862 and 1864, and moved to Lyon in 1870, where both attended La Martiniere, the largest technical school in Lyon.[3] Their father, Claude-Antoine Lumière (1840–1911), ran a photographic firm and both brothers worked for him: Louis as a physicist and Auguste as a manager. Louis had made some improvements to the still-photograph process, the most notable being the dry-plate process, which was a major step towards moving images.
It was not until their father retired in 1892 that the brothers began to create moving pictures. They patented a number of significant processes leading up to their film camera, most notably film perforations (originally implemented by Emile Reynaud) as a means of advancing the film through the camera and projector. The cinématographe itself was patented on 13 February 1895 and the first footage ever to be recorded using it was recorded on March 19, 1895. This first film shows workers leaving the Lumière factory.


First film screenings

The Lumières held their first private screening of projected motion pictures in 1895.[4] Their first public screening of films at which admission was charged was held on December 28, 1895, at Salon Indien du Grand Café in Paris. This history-making presentation featured ten short films, including their first film, Sortie des Usines Lumière à Lyon (Workers Leaving the Lumière Factory).[5] Each film is 17 meters long, which, when hand cranked through a projector, runs approximately 50 seconds.

The world's first film poster, for 1895's L'Arroseur arrosé
It is believed their first film was actually recorded that same year (1895)[6] with Léon Bouly's cinématographe device, which was patented the previous year. The cinématographe — a three-in-one device that could record, develop, and project motion pictures — was further developed by the Lumières.
The public debut at the Grand Café came a few months later and consisted of the following ten short films (in order of presentation):[1]
  1. La Sortie de l'Usine Lumière à Lyon (literally, "the exit from the Lumière factory in Lyon", or, under its more common English title,Workers Leaving the Lumiere Factory), 46 seconds
  2. La Voltige ("Horse Trick Riders"), 46 seconds
  3. La Pêche aux poissons rouges ("fishing for goldfish"), 42 seconds
  4. Le Débarquement du Congrès de Photographie à Lyon ("the disembarkment of the Congress of Photographers in Lyon"), 48 seconds
  5. Les Forgerons ("Blacksmiths"), 49 seconds
  6. Le Jardinier (l'Arroseur Arrosé) ("The Gardener," or "The Sprinkler Sprinkled"), 49 seconds
  7. Repas de bébé ("Baby's Breakfast" (lit. "baby's meal")), 41 seconds
  8. Le Saut à la couverture ("Jumping Onto the Blanket"), 41 seconds
  9. La Places des Cordeliers à Lyon ("Cordeliers Square in Lyon"--a street scene), 44 seconds
  10. La Mer (Baignade en mer) ("the sea [bathing in the sea]"), 38 seconds
The Lumières went on tour with the cinématographe in 1896, visiting BombayLondonMontrealNew York and Buenos Aires.
The moving images had an immediate and significant influence on popular culture with L'Arrivée d'un Train en Gare de la Ciotat (literally, "the arrival of a train at La Ciotat", but more commonly known as Arrival of a Train at a Station) and Carmaux, défournage du coke (Drawing out the coke). Their actuality films, oractualités, are often cited as the first, primitive documentaries. They also made the first steps towards comedy film with the slapstick of L'Arroseur Arrosé.